.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
ต่อไปจะเป็นตัวฮิระงะนะ
ฮิระงะนะ (ญี่ปุ่น: 平仮名 Hiragana ) คือ อักษรในภาษาญี่ปุ่น ซึ่งเป็นหนึ่งในสามของอักษรญี่ปุ่นที่ใช้ในปัจจุบันควบคู่กับ คะตะคะนะ และ คันจิ ซึ่งฮิระงะนะ และคะตะคะนะ ทั้งคู่เป็นระบบคะนะที่ตัวอักษรหนึ่งตัวแสดงถึงหนึ่งเสียง ในแต่ละ"คะนะ"สามารถเป็นได้ทั้งในรูปสระและตัวสะกด
ที่มา
ฮิระงะนะพัฒนามาจากอักษรจีน เริ่มแรกเรียก onnade หรือ มือของผู้หญิง เพราะใช้เขียนโดยผู้หญิงเป็นส่วนใหญ่ ผู้ชายจะเขียนโดยใช้คันจิและคะตะคะนะประมาณ พ.ศ. 1500 ฮิระงะนะจึงใช้โดยทั่วไป คำว่า ฮิระงะนะ หมายถึง อักษรพยางค์สามัญ รูปแบบแรกๆของฮิระงะนะ มีสัญลักษณ์หลายตัวที่ออกเสียงเหมือนกัน ระบบการเขียนมีความแตกต่างกันขึ้นกับผู้เขียนแต่ละคน รัฐบาลญี่ปุ่นเข้ามาจัดรูปแบบเมื่อ พ.ศ. 2489 จึงกลายเป็นอักษรที่ใช้ในปัจจุบัน
ลักษณะและการใช้ฮิระงะนะ
ฮิระงะนะมีสัญลักษณ์ 48 ตัว และมักใช้ในการลงท้ายคำ (okurigana) ในภาษาญี่ปุ่น ใช้สำหรับคำที่ไม่มีในตัวอักษรคันจิ หรือใช้ในส่วนท้ายของคำกริยาหรือใช้เป็นคำช่วย ใช้โดยทั่วไปในสื่อสำหรับเด็ก ตำราเรียน และหนังสือการ์ตูนและฮิระงะนะใช้สำหรับเป็นคำอ่านสำหรับตัวอักษรคันจิ เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้ ซึ่งเรียกว่าฟุริงะนะ ในหนังสือพิมพ์เป็นกฎที่ต้องใส่ฟุริงะนะคู่กับคันจิ ที่นอกเหนือไปจากคันจิที่ทางราชการรับรองว่าเป็นคันจิที่ใช้บ่อย 1,945 ตัว หนังสือพิมพ์ส่วนใหญ่ จะไม่ใช้คันจิ นอกเหนือไปจากคันจิกลุ่มนี้
ในปัจจุบันมีระบบฮิระงะนะ 2 แบบคือ อิโระฮะ ฮิระงะนะแบบเก่า และแบบ โกะจูอง แบบใหม่
เครดิต : วิกิพีเดีย
จบไปแล้วนะครับ
สำหรับอักษรทั้ง 2 ชนิดนี้
ครั้งหน้า......ผมจะนำเสนออักษร "คันจิ " กันนะครับ
ฮิระงะนะมีสัญลักษณ์ 48 ตัว และมักใช้ในการลงท้ายคำ (okurigana) ในภาษาญี่ปุ่น ใช้สำหรับคำที่ไม่มีในตัวอักษรคันจิ หรือใช้ในส่วนท้ายของคำกริยาหรือใช้เป็นคำช่วย ใช้โดยทั่วไปในสื่อสำหรับเด็ก ตำราเรียน และหนังสือการ์ตูนและฮิระงะนะใช้สำหรับเป็นคำอ่านสำหรับตัวอักษรคันจิ เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้ ซึ่งเรียกว่าฟุริงะนะ ในหนังสือพิมพ์เป็นกฎที่ต้องใส่ฟุริงะนะคู่กับคันจิ ที่นอกเหนือไปจากคันจิที่ทางราชการรับรองว่าเป็นคันจิที่ใช้บ่อย 1,945 ตัว หนังสือพิมพ์ส่วนใหญ่ จะไม่ใช้คันจิ นอกเหนือไปจากคันจิกลุ่มนี้
ในปัจจุบันมีระบบฮิระงะนะ 2 แบบคือ อิโระฮะ ฮิระงะนะแบบเก่า และแบบ โกะจูอง แบบใหม่
ตารางตัวอักษรฮิระงะนะ
สระ และ พยัญชนะ | yōon | ||||||
あ อะ | い อิ | う อุ | え เอะ | お โอะ | (ยะ) | (ยุ) | (โยะ) |
---|---|---|---|---|---|---|---|
か คะ | き คิ | く คุ | け เคะ | こ โคะ | きゃ เคียะ | きゅ คิว | きょ เคียว |
さ สะ | し ชิ | す สุ | せ เสะ | そ โสะ | しゃ ชะ | しゅ ชึ,ชุ | しょ โชะ |
た ทะ, ตะ | ち ฉิ | つ ทสึ | て เทะ, เตะ | と โทะ, โตะ | ちゃ ฉะ | ちゅ ฉึ,ฉุ | ちょ โฉะ |
な นะ | に นิ | ぬ นุ | ね เนะ | の โนะ | にゃ เนียะ | にゅ นิว | にょ เนียว |
は ฮะ | ひ ฮิ | ふ ฟุ | へ เฮะ | ほ โฮะ | ひゃ เฮียะ | ひゅ ฮิว | ひょ เฮียว |
ま มะ | み มิ | む มุ | め เมะ | も โมะ | みゃ เมียะ | みゅ มิว | みょ เมียว |
や ยะ | ゆ ยุ | よ โยะ | |||||
ら ระ | り ริ | る รุ | れ เระ | ろ โระ | りゃ เรียะ | りゅ ริว | りょ เรียว |
わ วะ | ゐ*** วิ | ゑ*** เวะ | を**** โอะ | ||||
ん -น | |||||||
が งะ, กะ | ぎ งิ, กิ | ぐ งุ, กุ | げ เงะ, เกะ | ご โงะ, โกะ | ぎゃ กงิ ยะ | ぎゅ กงิ ยึ | ぎょ กงิ โยะ |
ざ ซะ | じ จิ* | ず ซึ** | ぜ เซะ | ぞ โซะ | じゃ จะ | じゅ จึ,จุ | じょ โจะ |
だ ดะ | ぢ จิ* | づ ทซึ** | で เดะ | ど โดะ | ぢゃ (จะ) | ぢゅ (จึ,จุ) | ぢょ (โจะ) |
ば บะ | び บิ | ぶ บึ | べ เบะ | ぼ โบะ | びゃ บิ ยะ | びゅ บิ ยึ | びょ บิ โยะ |
ぱ พะ | ぴ พิ | ぷ พึ | ぺ เพะ | ぽ โพะ | ぴゃ เพียะ | ぴゅ พิ ยึ | ぴょ พิ โยะ |
* じ กับ ぢ ออกเสียงคล้ายกัน ** ず กับ づ ออกเสียงเหมือนกัน *** ゐ และ ゑ ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว **** を จะออกเสียงเหมือนกับ お แต่ を จะใช้กับคำช่วย を เท่านั้น ในบทเพลงบ่อยครั้งมักได้ยิน を เป็นเสียง wo [โวะ] แทน
ตัวอักษรที่ใช้สำหรับภาษาต่างประเทศ
............ | ............ | ............ | いぇ (เยะ ye) | ............ |
............ | うぃ (วิ wi) | ............ | うぇ (เวะ we) | うぉ (โวะ wo) |
わ゙ (va) | ゐ゙ (vi) | ゔ (vu) | ゑ゙ (ve)ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว | を゙ (vo) |
ゔぁ (va) | ゔぃ (vi) | ゔぅ (vu) | ゔぇ (ve) | ゔぉ (vo) |
............ | ............ | ............ | しぇ (เชะ she) | ............ |
............ | ............ | ............ | じぇ (เจะ je) | ............ |
............ | ............ | ............ | ちぇ (เฉะ che) | ............ |
............ | てぃ (ทิ ti) | とぅ (ทึ tu) | ............ | ............ |
............ | でぃ (ดิ di) | どぅ (ดึ du) | ............ | ............ |
つぁ (ทสะ tsa) | つぃ (ทสิ tsi) | ............. | つぇ (ทเสะ tse) | つぉ (ทโสะ tso) |
ふぁ (ฟะ fa) | ふぃ (ฟิ fi) | ............. | ふぇ (เฟะ fe) | ふぉ (โฟะ fo) |
- โดยปกติแล้วใช้ตัวอักษรคะตะกะนะ
อ้างอิง
ประวัติและการเขียนฮิระงะนะ
เครดิต : วิกิพีเดีย
จบไปแล้วนะครับ
สำหรับอักษรทั้ง 2 ชนิดนี้
ครั้งหน้า......ผมจะนำเสนออักษร "คันจิ " กันนะครับ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น